สรุปเรื่อง วัฒนธรรมองค์การ(Organaization Culture)
ความหมายวัฒนธรรมองค์การ
จากความหมายในพจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2525 ได้ให้ความหมายของ "วัฒนธรรม" ความหมายว่า "พฤติกรรมและสิ่งที่คนในหมู่ผลิต สร้างขึ้นด้วยกัน เรียนรู้จากกันและกันและร่วมใช้อยู่ในหมู่พวกของตน"
จากความหมายในพจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2525 ได้ให้ความหมายของ "วัฒนธรรม" ความหมายว่า "พฤติกรรมและสิ่งที่คนในหมู่ผลิต สร้างขึ้นด้วยกัน เรียนรู้จากกันและกันและร่วมใช้อยู่ในหมู่พวกของตน"
สรุป : วัฒนธรรมองค์กร คือ พฤติกรรมที่สร้างขึ้นจากคนในองค์กรโดยมีการเรียนรู้ซึ่งกันและกันและยืดถือปฏิบัติกันมาจนเป็นธรรมเนียมปฏิบัติในองค์กรนั้น ๆ
แนวคิดเกี่ยวกับองค์การ
ความหมายขององค์การ หมายถึง หน่วยงาน อาจจะเป็นภาครัฐ เอกชน องค์กรระหว่างประเทศ กลุ่มคนที่มารวมตัวกัน ภายใต้โครงสร้าง โดยมีเป้าหมายบางสิ่งบางอย่าง ที่ต้องการให้บรรลุ.องค์ประกอบขององค์การ
2.1 จุดมุ่งหมายของโครงการ หรือวัตถุประสงค์ที่มีการจัดตั้งองค์การและเป็นทิศทางในการทำงาน องค์การอาจจะมีจุดมุ่งหมายได้มากกว่า 1 ข้อ หลัก ๆ มี 3 ข้อ คือ
- เพื่อแสวงหากำไร
- เพื่อบริการลูกค้า
- เพื่อช่วยเหลือสังคม 2.2 โครงสร้างขององค์การ คือ ระบบให้ความสำคัญของคนที่เข้ามาทำงานร่วมกันในองค์การว่าใครมีความสำคัญใครเป็นหัวหน้า ใครเป็นลูกน้อง ใครเป็นผู้ออกคำสั่ง ใครเป็นผู้รับคำสั่ง โครงสร้างขององค์การจะเป็นตัวที่ทำให้เห็นระบบงานทั้งหมดขององค์การ เริ่มต้นตรงไหน
ส่งต่อไปที่ใคร และสิ้นสุดที่ไหน โครงสร้างขององค์การอาจจะถูกจัดลำดับโดยใช้ความสำคัญของคนหรือความสำคัญของงานก็ได้
2.3 บุคลากร บุคคลกับองค์การต้องไปด้วยกัน ต้องพึ่งพาซึ่งกันและกัน
2.4 สภาพแวดล้อม
สภาพแวดล้อมภายนอก
-สภาพแวดล้อมทั่วไป คือแรงผลักดันที่อยู่ภายนอกองค์การ แต่ส่งผลกระทบต่อการบริหารงานขององค์การ เช่น อิทธิพลทางการเมือง กฎหมายและการเปลี่ยนแปลงทางเศรษฐกิจ เทคโนโลยี สังคมและวัฒนธรรม
-สภาพแวดล้อมที่มีโดยตรงต่อการดำเนินการขององค์การ เช่น ลูกค้าหรืผู้รับบริการ วัตถุดิบ ตลาดแรงงาน
สภาพแวดล้อมภายใน หมายถึงทรัพยากร เช่น คน เงิน วัสดุ เทคนิคการจัดการ ผู้บริหาร ผู้ถือหุ้น
2.1 จุดมุ่งหมายของโครงการ หรือวัตถุประสงค์ที่มีการจัดตั้งองค์การและเป็นทิศทางในการทำงาน องค์การอาจจะมีจุดมุ่งหมายได้มากกว่า 1 ข้อ หลัก ๆ มี 3 ข้อ คือ
- เพื่อแสวงหากำไร
- เพื่อบริการลูกค้า
- เพื่อช่วยเหลือสังคม 2.2 โครงสร้างขององค์การ คือ ระบบให้ความสำคัญของคนที่เข้ามาทำงานร่วมกันในองค์การว่าใครมีความสำคัญใครเป็นหัวหน้า ใครเป็นลูกน้อง ใครเป็นผู้ออกคำสั่ง ใครเป็นผู้รับคำสั่ง โครงสร้างขององค์การจะเป็นตัวที่ทำให้เห็นระบบงานทั้งหมดขององค์การ เริ่มต้นตรงไหน
ส่งต่อไปที่ใคร และสิ้นสุดที่ไหน โครงสร้างขององค์การอาจจะถูกจัดลำดับโดยใช้ความสำคัญของคนหรือความสำคัญของงานก็ได้
2.3 บุคลากร บุคคลกับองค์การต้องไปด้วยกัน ต้องพึ่งพาซึ่งกันและกัน
2.4 สภาพแวดล้อม
สภาพแวดล้อมภายนอก
-สภาพแวดล้อมทั่วไป คือแรงผลักดันที่อยู่ภายนอกองค์การ แต่ส่งผลกระทบต่อการบริหารงานขององค์การ เช่น อิทธิพลทางการเมือง กฎหมายและการเปลี่ยนแปลงทางเศรษฐกิจ เทคโนโลยี สังคมและวัฒนธรรม
-สภาพแวดล้อมที่มีโดยตรงต่อการดำเนินการขององค์การ เช่น ลูกค้าหรืผู้รับบริการ วัตถุดิบ ตลาดแรงงาน
สภาพแวดล้อมภายใน หมายถึงทรัพยากร เช่น คน เงิน วัสดุ เทคนิคการจัดการ ผู้บริหาร ผู้ถือหุ้น
.ลักษณะขององค์การ มี 5 ลักษณะ คือ
3.1 องค์การเป็นลักษณะของกลุ่มบุคคล ที่มาทำงานร่วมกัน โดยมีความเชื่อว่า คนเพียงคนเดียวไม่สามารถ กระทำสิ่งต่างๆเพื่อตอบสนองความต้องการของตนเองได้ เพราะฉะนั้นเมื่อมีกลุ่มบุคคลในองค์ก็การก็ย่อมเกิดการขัดแย้งเกิดขึ้น ทั้งในลักษณะที่เป็น Personal conflict และ Technical conflict เพื่อทำให้องค์การเกิดการพัฒนา อาจจะเป็นหน่วยงานภาครัฐหรือเอกชนก็ได้ 3.2 องค์การเป็นโครงสร้างของความสัมพันธ์ คือ คนที่เข้ามาอยู่ร่วมกันต้องมี การกำหนดความสัมพันธ์ของคนและงานต่างๆทที่อยู่ภายในองค์การ
3.1 องค์การเป็นลักษณะของกลุ่มบุคคล ที่มาทำงานร่วมกัน โดยมีความเชื่อว่า คนเพียงคนเดียวไม่สามารถ กระทำสิ่งต่างๆเพื่อตอบสนองความต้องการของตนเองได้ เพราะฉะนั้นเมื่อมีกลุ่มบุคคลในองค์ก็การก็ย่อมเกิดการขัดแย้งเกิดขึ้น ทั้งในลักษณะที่เป็น Personal conflict และ Technical conflict เพื่อทำให้องค์การเกิดการพัฒนา อาจจะเป็นหน่วยงานภาครัฐหรือเอกชนก็ได้ 3.2 องค์การเป็นโครงสร้างของความสัมพันธ์ คือ คนที่เข้ามาอยู่ร่วมกันต้องมี การกำหนดความสัมพันธ์ของคนและงานต่างๆทที่อยู่ภายในองค์การ
3.3 องค์การเป็นส่วนหนึ่งของการบริหารหรือการจัดการ องค์การเป็นขั้นตอนขั้นตอนหนึ่งของการบริหารและการบริหารจัดการก็เป็นส่วนหนึ่งขององค์การเช่นกัน โดยอาจจะเอาหลัก POSDCORB MODEL เข้ามาใช้
P Planing
O Oganizing
S Staffing
D Directing
CO Co-ordinating
R Reporting
B Budgeting
3.4 องค์การเป็นกระบวนการ เมื่อมีการจัดองค์การก็ต้องนำเทคนิคการบริหารจัดการมาใช้ ( การบริหารเป็นส่วนหนึ่งของการจัดการ )เป็นขั้นตอน เป็น 4ขั้นตอน คือ 1.การกำหนดเป้าหมาย ที่ชัดเจนว่าเน้นด้านไหน อย่างไร
2.การแบ่งงาน เป็นฝ่ายต่างๆที่ชัดเจน เช่น ฝ่ายผลิต ฝ่ายบัญชี ฝ่ายการตลาด ฝ่ายจัดหา
3.การจัดบุคคลเข้าทำงาน ให้ตรงกับความรู้และความสามารถของบุคคล
4.การสร้างความสัมพันธ์ กำหนดความสัมพันธ์ของอำนาจหน้าที่และความรับผิดชอบ ของแต่ละตำแหน่ง
P Planing
O Oganizing
S Staffing
D Directing
CO Co-ordinating
R Reporting
B Budgeting
3.4 องค์การเป็นกระบวนการ เมื่อมีการจัดองค์การก็ต้องนำเทคนิคการบริหารจัดการมาใช้ ( การบริหารเป็นส่วนหนึ่งของการจัดการ )เป็นขั้นตอน เป็น 4ขั้นตอน คือ 1.การกำหนดเป้าหมาย ที่ชัดเจนว่าเน้นด้านไหน อย่างไร
2.การแบ่งงาน เป็นฝ่ายต่างๆที่ชัดเจน เช่น ฝ่ายผลิต ฝ่ายบัญชี ฝ่ายการตลาด ฝ่ายจัดหา
3.การจัดบุคคลเข้าทำงาน ให้ตรงกับความรู้และความสามารถของบุคคล
4.การสร้างความสัมพันธ์ กำหนดความสัมพันธ์ของอำนาจหน้าที่และความรับผิดชอบ ของแต่ละตำแหน่ง
3.5 องค์การเป็นระบบระบบหนึ่ง ซึ่งประกอบด้วยปัจจัยต่างๆ คือ
- ระบบเปิด คือ จะให้ความสนใจสภาพแวดล้อมภายนอกองค์การ
- ระบบปิด คือ ให้ความสนใจสภาพแวดล้อมภายในองค์การเพียงอย่างเดียว
ประเภทขององค์การ
4.1 แบ่งตามการจัดระเบียบภายในองค์การ
4.1.1 องค์การที่เป็นทางการ ( รูปนัย ) คือ มีการจัดตั้งโดยมี กฎหมายรองรับ มีการกำหนดโครงสร้างที่ชัดเจน มีการกำหนดสายการบังคับบัญชาที่ชัดเจน
- ระบบเปิด คือ จะให้ความสนใจสภาพแวดล้อมภายนอกองค์การ
- ระบบปิด คือ ให้ความสนใจสภาพแวดล้อมภายในองค์การเพียงอย่างเดียว
ประเภทขององค์การ
4.1 แบ่งตามการจัดระเบียบภายในองค์การ
4.1.1 องค์การที่เป็นทางการ ( รูปนัย ) คือ มีการจัดตั้งโดยมี กฎหมายรองรับ มีการกำหนดโครงสร้างที่ชัดเจน มีการกำหนดสายการบังคับบัญชาที่ชัดเจน
4.1.2 องค์การที่ไม่เป็นทางการ (อรูปนัย) เป็นองค์การที่จัดตั้งขึ้นจากความสัมพันธ์ของกลุ่มคนในองค์การ ไม่มีกฎหมายหรือระเบียบมารองรับ
4.2 แบ่งโดยการถือกำเนิด
4.2.1 องค์การแบบปฐม คือ เกิดขึ้นโดยธรรมชาติ เช่น ครอบครัว หมู่บ้าน ตำบล ศาสนา
4.2.2 องค์การแบบมัธยม คือ มนุษย์จัดสร้างขึ้น
4.2.1 องค์การแบบปฐม คือ เกิดขึ้นโดยธรรมชาติ เช่น ครอบครัว หมู่บ้าน ตำบล ศาสนา
4.2.2 องค์การแบบมัธยม คือ มนุษย์จัดสร้างขึ้น
วัตถุประสงค์ขององค์การ
5.1 ทางเศรษฐกิจหรือกำไร
5.2 ทางด้านบริการ
5.3 ทางด้านสังคม เช่น ทุนการศึกษา ทุนอาหารกลางวัน6. ความสำคัญขององค์การ
6.1 ด้านการระดมสรรพกำลัง เป็นแหล่งรวมทรัพยากรทางด้านการบริหาร
6.2 สร้างความเข้มแข็งหรืออำนาจในการดำเนินกิจกรรม เป็นการสร้างอำนาจในการแข่งขันหรือต่อรองกับหน่วยงานอื่นๆ
6.3 เป็นหน่วยการผลิตที่มีประสิทธิภาพ เป็นศูนย์กลางการผลิตที่ทันสมัยและประยุกต์ใช้นวัตกรรมที่ทันสมัยอยู่เสมอ
6.4 เป็นแหล่งพัฒนาทักษะการทำงาน7.ความแตกต่างระหว่างทฤษฎีองค์การและพฤติกรรมองค์การ
ข้อแตกต่าง ระหว่างทฤษฎีและพฤติกรรม
1.ทฤษฎีองค์การ คือ การศึกษาองค์การในระดับมหัพภาค หน่วยในการวิเคราะห์ คือ
1.หน่วยงานย่อยในองค์การ
2.องค์การทั้งองค์การ
2.พฤติกรรมองค์การ คือ การศึกษาองค์การระดับจุลภาค หน่วยในการวิเคราะห์ คือ
1.บุคคล ( ปัจเจกบุคคล )
2.กลุ่มในองค์การ8.ทัศนะเกี่ยวกับการศึกษาองค์การ
8.1 ทัศนะเชิงความสมเหตุสมผลตามสถานการณ์ เป็นการศึกษาที่มุ่งเน้น ว่าจะทำอย่างไรที่จะทำให้องค์การมีการบริหารงานที่มีประสิทธิภาพ และรักษาสภานภาพขององค์การไว้ได้
8.2 ทัศนะของมาร์กซีสม์ เป็นการต่อสู้เพื่อให้ได้มาซึ่งผลประโยชน์และอำนาจ
8.3 ทัศนะเชิงเศรษฐศาสตร์ต้นทุนของธุรกิจ เป็นทัศนะที่เน้นทางด้านเศรษฐศาสตร์ ซึ่งพัฒนามาจากแนวความคิดทางเศรษฐศาสตร์
5.1 ทางเศรษฐกิจหรือกำไร
5.2 ทางด้านบริการ
5.3 ทางด้านสังคม เช่น ทุนการศึกษา ทุนอาหารกลางวัน6. ความสำคัญขององค์การ
6.1 ด้านการระดมสรรพกำลัง เป็นแหล่งรวมทรัพยากรทางด้านการบริหาร
6.2 สร้างความเข้มแข็งหรืออำนาจในการดำเนินกิจกรรม เป็นการสร้างอำนาจในการแข่งขันหรือต่อรองกับหน่วยงานอื่นๆ
6.3 เป็นหน่วยการผลิตที่มีประสิทธิภาพ เป็นศูนย์กลางการผลิตที่ทันสมัยและประยุกต์ใช้นวัตกรรมที่ทันสมัยอยู่เสมอ
6.4 เป็นแหล่งพัฒนาทักษะการทำงาน7.ความแตกต่างระหว่างทฤษฎีองค์การและพฤติกรรมองค์การ
ข้อแตกต่าง ระหว่างทฤษฎีและพฤติกรรม
1.ทฤษฎีองค์การ คือ การศึกษาองค์การในระดับมหัพภาค หน่วยในการวิเคราะห์ คือ
1.หน่วยงานย่อยในองค์การ
2.องค์การทั้งองค์การ
2.พฤติกรรมองค์การ คือ การศึกษาองค์การระดับจุลภาค หน่วยในการวิเคราะห์ คือ
1.บุคคล ( ปัจเจกบุคคล )
2.กลุ่มในองค์การ8.ทัศนะเกี่ยวกับการศึกษาองค์การ
8.1 ทัศนะเชิงความสมเหตุสมผลตามสถานการณ์ เป็นการศึกษาที่มุ่งเน้น ว่าจะทำอย่างไรที่จะทำให้องค์การมีการบริหารงานที่มีประสิทธิภาพ และรักษาสภานภาพขององค์การไว้ได้
8.2 ทัศนะของมาร์กซีสม์ เป็นการต่อสู้เพื่อให้ได้มาซึ่งผลประโยชน์และอำนาจ
8.3 ทัศนะเชิงเศรษฐศาสตร์ต้นทุนของธุรกิจ เป็นทัศนะที่เน้นทางด้านเศรษฐศาสตร์ ซึ่งพัฒนามาจากแนวความคิดทางเศรษฐศาสตร์
ทฤษฎีองค์การ
1. ทฤษฎีสมัยดั้งเดิม เป็นยุคพื้นฐาน จุดเน้น คือ
1.ให้ความสำคัญและศึกษาองค์การที่เป็นทางการเท่านั้น
2.มุ่งค้นหาวิธีการบริหารองค์การว่าทำอย่างไรองค์การจะมีประสิทธิภาพ (การใช้ทรัพยากรอย่างมีประสิทธิภาพ )และประสิทธิผลสูงสุด ( ได้ผลตามเป้าหมายที่ตั้งไว้ )
3.มองพนักงานเปรียบเสมือนเครื่องจักรและเชื่อว่าปัจจัยที่จูงใจคนได้ คือ ปัจจัยทางเศรษฐทรัพย์หรือเงินเพียงอย่างเดียวเท่านั้น
1.ให้ความสำคัญและศึกษาองค์การที่เป็นทางการเท่านั้น
2.มุ่งค้นหาวิธีการบริหารองค์การว่าทำอย่างไรองค์การจะมีประสิทธิภาพ (การใช้ทรัพยากรอย่างมีประสิทธิภาพ )และประสิทธิผลสูงสุด ( ได้ผลตามเป้าหมายที่ตั้งไว้ )
3.มองพนักงานเปรียบเสมือนเครื่องจักรและเชื่อว่าปัจจัยที่จูงใจคนได้ คือ ปัจจัยทางเศรษฐทรัพย์หรือเงินเพียงอย่างเดียวเท่านั้น
แนวคิดของผู้รู้หลายท่านดังนี้
1. แนวคิดของเฟรดริก ดับบลิว เทย์เลอร์ วิศวกรชาวอเมริกัน เป็นผู้ที่ใช้แนวความคิดทางด้านวิทยาศาสตร์มาใช้กับการบริหาร เป็นคนแรก แนวความคิดที่สำคัญ คือ แนวความคิดที่ว่า หนทางที่ดีที่สุดในการปฏิบัติงาน (one best way)นอกเหนือจากนี้
เทย์เลอร์ยังเป็นคนแรกที่จ่ายค่าจ้างเป็นรายชิ้น เพื่อเป็นแรงจูงใจให้คนทำงาน
2. แนวคิดของอองรี ฟาโยล วิศวกรชาวฝรั่งเศส เป็นเจ้าของแนวความคิดของการบริหารงานตามหน้าที่ โดยกระบวนการจัดการ 5 อย่าง หรือ POCCC
1. แนวคิดของเฟรดริก ดับบลิว เทย์เลอร์ วิศวกรชาวอเมริกัน เป็นผู้ที่ใช้แนวความคิดทางด้านวิทยาศาสตร์มาใช้กับการบริหาร เป็นคนแรก แนวความคิดที่สำคัญ คือ แนวความคิดที่ว่า หนทางที่ดีที่สุดในการปฏิบัติงาน (one best way)นอกเหนือจากนี้
เทย์เลอร์ยังเป็นคนแรกที่จ่ายค่าจ้างเป็นรายชิ้น เพื่อเป็นแรงจูงใจให้คนทำงาน
2. แนวคิดของอองรี ฟาโยล วิศวกรชาวฝรั่งเศส เป็นเจ้าของแนวความคิดของการบริหารงานตามหน้าที่ โดยกระบวนการจัดการ 5 อย่าง หรือ POCCC
P Planing
O Organizing
C Commanding
C Coordinating
C Controlling
O Organizing
C Commanding
C Coordinating
C Controlling
3. แนวคิดของไลน์ดาล เออวิคและลูเธอร์ กูลิค POSDCORB MODEL ซึ่งจะครอบคลุมทุกพื้นที่ในการบริหาร ไม่ว่าจะเป็นการวางแผน การจัดองค์การ การบริหารงานบุคคล การรายงานผล
4. แนวความคิดของแมกซ์ เวเบอร์ เป็นนักสังคมวิทยาชาวเยอรมันนี ซึ่งมีแนวความคิดว่า การที่การบริหารงานจะมีประสิทธิภาพขึ้นมาได้ จะต้องมีการจัดองค์การในลักษณะขององค์การแบบระบบราชการ ซึ่งไม่ได้หมายถึงองค์การภาครัฐอย่างอย่างเดียวแต่รวมถึงเอกชนด้วย แต่ต้อง มีลักษณะเฉพาะ ครบทั้ง 7 ข้อ คือ
1.ลำดับชั้นของการบังคับบัญชา ต้องกำหนดให้ชัดเจน จากสูงไปหาต่ำ หรือมใครเป็นหัวหน้าใครเป็นลูกน้อง
2.ความรับผิดชอบ เมื่อมีหน้าที่ก็ต้องมีความรับผิดชอบ ต้องมีการแบ่งความรับผิดชอบที่ชัดเจน
3.ความสมเหตุสมผล เป็นการกำหนดกฎ ระเบียบในการปฏิบัติงาน เช่น การเข้า การออก การหยุด
4.การมุ่งสู่ผลสำเร็จ คือ มีเป้าหมาย
5.เน้นการชำนาญเฉพาะด้าน
6.ระเบียบวินัย เป็นการกำหนดพฤติกรรมของคนในองค์การ
7.ความเป็นวิชาชีพ คือสามารถยึดเป็นอาชีพได้ตลอดชีวิต
2.ทฤษฎีองค์การแบบดั้งเดิมใหม่ มีฐานความคิดแบบดั้งเดิม แต่มีสิ่งใหม่ๆเพิ่มเข้ามา คือ
1.ให้ความสำคัญกับองค์การที่ไม่เป็นทางการ เพิ่มขึ้น เช่น ชมรม สมาคม
2. เชื่อว่าในการจูงใจให้คนทำงานนั้น มีปัจจัยด้านอื่นเข้ามาเกี่ยวข้อง ไม่ใช่เรื่องเงินอย่างเพียงอย่างเดียว เช่น ด้านจิตวิทยาและสังคมวิทยา
4. แนวความคิดของแมกซ์ เวเบอร์ เป็นนักสังคมวิทยาชาวเยอรมันนี ซึ่งมีแนวความคิดว่า การที่การบริหารงานจะมีประสิทธิภาพขึ้นมาได้ จะต้องมีการจัดองค์การในลักษณะขององค์การแบบระบบราชการ ซึ่งไม่ได้หมายถึงองค์การภาครัฐอย่างอย่างเดียวแต่รวมถึงเอกชนด้วย แต่ต้อง มีลักษณะเฉพาะ ครบทั้ง 7 ข้อ คือ
1.ลำดับชั้นของการบังคับบัญชา ต้องกำหนดให้ชัดเจน จากสูงไปหาต่ำ หรือมใครเป็นหัวหน้าใครเป็นลูกน้อง
2.ความรับผิดชอบ เมื่อมีหน้าที่ก็ต้องมีความรับผิดชอบ ต้องมีการแบ่งความรับผิดชอบที่ชัดเจน
3.ความสมเหตุสมผล เป็นการกำหนดกฎ ระเบียบในการปฏิบัติงาน เช่น การเข้า การออก การหยุด
4.การมุ่งสู่ผลสำเร็จ คือ มีเป้าหมาย
5.เน้นการชำนาญเฉพาะด้าน
6.ระเบียบวินัย เป็นการกำหนดพฤติกรรมของคนในองค์การ
7.ความเป็นวิชาชีพ คือสามารถยึดเป็นอาชีพได้ตลอดชีวิต
2.ทฤษฎีองค์การแบบดั้งเดิมใหม่ มีฐานความคิดแบบดั้งเดิม แต่มีสิ่งใหม่ๆเพิ่มเข้ามา คือ
1.ให้ความสำคัญกับองค์การที่ไม่เป็นทางการ เพิ่มขึ้น เช่น ชมรม สมาคม
2. เชื่อว่าในการจูงใจให้คนทำงานนั้น มีปัจจัยด้านอื่นเข้ามาเกี่ยวข้อง ไม่ใช่เรื่องเงินอย่างเพียงอย่างเดียว เช่น ด้านจิตวิทยาและสังคมวิทยา
มีแนวคิดของผู้รู้ที่สำคัญดังนี้
1. แนวคิดของเอลตัน เมโย บิดาแห่งการบริหารงานแบบมนุษยสัมพันธ์ เมโยพยายามทดลองว่าปัจจัยอะไรบ้างที่จะทำให้คนทำงานอย่างเต็มที่ และบอกว่ามนุษยสัมพันธ์มีส่วนในการที่จะทำให้คนทำงานมากหรือน้อย เป็นตัวกำหนดมาตรฐานในการทำงาน
2.แนวคิดของอับราฮัม มาสโลว์ นักจิตวิทยาชาวอังกฤษ เจ้าของทฤษฎีลำดับขั้นของ
ความต้องการของคน 5 ลำดับขั้น เช่น ความต้องการพื้นฐาน
1.ความต้องการทางกายภาพ
2.ความต้องการความมั่นคงปลอดภัย
3.ความต้องการทางสังคม การเป็นส่วนหนึ่งของสังคม
4.ความต้องการการยกย่อง
5.ความต้องการประจักษ์ในคุณค่าของตนเอง ว่าเกิดมาต้องการเป็นอะไร
3.แนวคิดของดักลาส แมคเกรเกอร์ ทฤษฎี X และ Y มองว่าคนต่างกัน X มองคนในแง่ร้าย มองว่าคนขี้เกียจ คนเกียจคร้าน ชอบหลบหนีงานเมื่อมีโอกาส ส่วน Y มองคนในด้านดี ชอบที่จะทำงานโดยธรรมชาติ แต่ผู้บริหารต้องปรับสภาพการทำงานให้เหมาะสม กับการทำงาน การบริหารงานตามแนวความคิดนี้ ขึ้นอยู่กับผู้บริหารว่ามองคนในด้านไหน เพื่อความสอดคล้องของการบริหาร เช่น หากผู้บริหารมองคนในด้าน X ก็จะบริหารงานแบบเผด็จการ ควบคุมอย่างใกล้ชิด ลงโทษอย่างรุนแรง
1. แนวคิดของเอลตัน เมโย บิดาแห่งการบริหารงานแบบมนุษยสัมพันธ์ เมโยพยายามทดลองว่าปัจจัยอะไรบ้างที่จะทำให้คนทำงานอย่างเต็มที่ และบอกว่ามนุษยสัมพันธ์มีส่วนในการที่จะทำให้คนทำงานมากหรือน้อย เป็นตัวกำหนดมาตรฐานในการทำงาน
2.แนวคิดของอับราฮัม มาสโลว์ นักจิตวิทยาชาวอังกฤษ เจ้าของทฤษฎีลำดับขั้นของ
ความต้องการของคน 5 ลำดับขั้น เช่น ความต้องการพื้นฐาน
1.ความต้องการทางกายภาพ
2.ความต้องการความมั่นคงปลอดภัย
3.ความต้องการทางสังคม การเป็นส่วนหนึ่งของสังคม
4.ความต้องการการยกย่อง
5.ความต้องการประจักษ์ในคุณค่าของตนเอง ว่าเกิดมาต้องการเป็นอะไร
3.แนวคิดของดักลาส แมคเกรเกอร์ ทฤษฎี X และ Y มองว่าคนต่างกัน X มองคนในแง่ร้าย มองว่าคนขี้เกียจ คนเกียจคร้าน ชอบหลบหนีงานเมื่อมีโอกาส ส่วน Y มองคนในด้านดี ชอบที่จะทำงานโดยธรรมชาติ แต่ผู้บริหารต้องปรับสภาพการทำงานให้เหมาะสม กับการทำงาน การบริหารงานตามแนวความคิดนี้ ขึ้นอยู่กับผู้บริหารว่ามองคนในด้านไหน เพื่อความสอดคล้องของการบริหาร เช่น หากผู้บริหารมองคนในด้าน X ก็จะบริหารงานแบบเผด็จการ ควบคุมอย่างใกล้ชิด ลงโทษอย่างรุนแรง
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น